10 Feb 2012
(กรุงเทพฯ/ 10 ก.พ.55) ภาคประชาสังคมทั่วโลกประสานพลั
นายเฉลิมศักดิ์ กิตติตระกูล เจ้าหน้าที่ฝ่ายรณรงค์มูลนิธิ เข้าถึงเอดส์ เปิดเผยว่า เนื่องในวันที่ 10 กุมภาพันธ์นี้จะเป็นการประชุมสุ ดยอดสหภาพยุโรป-อินเดียเพื่อสรุ ปข้อตกลงเอฟทีเอระหว่างกัน ซึ่งสหภาพยุโรปยังคงพยายามกดดั นให้อินเดียต้องรับข้อตกลงที่ เกินไปกว่าความตกลงด้านทรัพย์สิ นทางปัญญาขององค์การการค้าโลก หรือที่เรียกว่าทริปส์พลัส ซึ่งจะมีผลทำลายอุตสาหกรรมยาชื่ อสามัญของอินเดียที่ประชาชนทั่ วโลกพึ่งพาอยู่ ทางเครือข่ายด้านสาธารณสุขทั่ วโลกจึงร่วมในกันจัดการรณรงค์ พร้อมกันในสัปดาห์นี้
“อินเดียเป็นประเทศผู้ผลิตยาชื่ อสามัญรายใหญ่ที่สุดในโลก ยาจำเป็นต่างๆ กว่าร้อยละ 80 ที่ใช้อยู่ในประเทศกำลังพั ฒนามาจากอินเดีย โดยเฉพาะยาต้านไวร้สเอชไอวี ประเทศไทยเป็นประเทศหนึ่งที่จ่ ายยาจำเป็นสำหรับรักษาโรคเอดส์ โรคหัวใจ และมะเร็งให้กับผู้ป่วยนับล้ านรายภายในระบบหลักประกันสุ ขภาพของประเทศไทย โดยที่ยาเหล่านี้มาจากอินเดีย แต่สหภาพยุโรปกำลังทำทุกวิถี ทางที่จะปิด “ร้านขายยา” ของประเทศกำลังพัฒนา และตัดสายป่านชีวิตของผู้คนนั บล้านที่ต้องอาศัยยาจำเป็ นจากประเทศอินเดีย
สำหรับการรณรงค์ในไทย เครือข่ายประชาชนและองค์กรต่ างๆที่ร่วมกันทำงานเพื่อการเข้ าถึงการรักษา นำโดยเครือข่ายผู้ติดเชื้ อเอชไอวี/เอดส์ ประเทศไทย จะใช้วิธีการส่ งโทรสารและจดหมายอิเล็คทรอนิ คไปยังสำนักงานคณะผู้ แทนคณะกรรมาธิการยุ โรปประจำประเทศไทย และเชิญชวนประชาชนร่วมถ่ายภาพที ่มีข้อความ “สหภาพยุโรปหยุดแย่ งยาจากพวกเราซะที/EU Hand off Our Medicines” “หยุดเอฟทีเอที่ทำลายยาชื่อสามั ญ/Stop the FTA Attack Generic Medicines” เผยแพร่ผ่านทางโซเชียลมีเดียเพื ่อกระตุ้นสำนึกผู้ เจรจาของสหภาพยุโรปให้คณะกรรมาธ ิการยุโรปเปลี่ยนท่าที ในการเจรจาและสัญญาว่าจะสนับสนุ นการเข้าถึงยาจำเป็นสำหรั บประชาชนทุกคน โดยจะเริ่มการรณรงค์นี้พร้อมกั นในวันศุกร์นี้”
สำหรับเนื้อหาในข้อตกลงเอฟที เอที่จะมีผลในการทำลายอุ ตสาหกรรมยาชื่อสามัญ อาทิ
- การขยายอายุสิทธิบัตร ที่ทำให้การคุ้มครองสิทธิบั ตรยาวนานเกินกว่า 20 ปีตามที่กำหนดไว้ในข้อตกลงทริ ปส์ขององค์การการค้าโลก
- การผูกขาดข้อมูลทางยา ซึ่งเป็นการจำกัดสิทธิ์หรื อทำให้นำยาชื่อสามัญมาขึ้นทะเบี ยนยาไม่ได้หรือได้อย่างยากลำบาก
- การบังคับใช้กฎหมายทรัพย์สิ นทางปัญญา ที่บังคับให้รั ฐบาลและระบบศาลของอินเดียต้องตั ดสินคดีที่เกี่ยวข้องกับทรัพย์ สินทางปัญญาโดยคำนึงถึ งผลประโยชน์ของเจ้าของสิทธิบั ตรเป็นสำคัญ มากกว่าเรื่องสาธารณสุ ขของประชาชน และบั่นทอนการแข่งขันของยาชื่ อสามัญ
- มาตรการชายแดน ที่จะทำให้การส่งออกยาจากอินเดี ยไปยังประเทศกำลังพัฒนามี ความยากลำบากหรือไม่อาจจะส่ งออกไปได้เลย
เรียน นายเดวิด ลิปแมน เอกอัครราชฑูตสหภาพยุ
ชีวิตคนนับล้านในประเทศกำลังพั
อินเดียเป็นประเทศผู้ผลิตยาชื่
คณะกรรมาธิการยุโรป (EC) กำลังผลักดันอย่างหนักให้มีข้
ข้าพเจ้าขอเรียกร้องให้
· การขยายอายุสิทธิบัตร ที่ทำให้การคุ้มครองสิทธิบั
· การผูกขาดข้อมูลทางยา ซึ่งเป็นการจำกัดสิทธิ์หรื
· การบังคับใช้กฎหมายทรัพย์สิ
· มาตรการชายแดน ที่จะทำให้การส่งออกยาจากอินเดี
ข้าพเจ้าเรียกร้องเพื่
|
หากต้องการรายละเอียดเพิ่มเติมติ ดต่อ
เฉลิมศักดิ์ กิตติตระกูล เจ้าหน้าที่ฝ่ายรณรงค์มูลนิธิ เข้าถึงเอดส์ Tel 081 612 9551
อภิวัฒน์ กวางแก้ว ประธานเครือข่ายผู้ติดเชื้ อเอชไอวี/เอดส์ ประเทศไทย Tel 086 614 8487
สุภัทรา นาคะผิว ประธานคณะกรรมการองค์กรพั ฒนาเอกชนด้านเอดส์ และผู้อำนวยการมูลนิธิศูนย์คุ้ มครองสิทธิด้านเอดส์ Tel 081 614 8487
กรรณิการ์ กิจติเวชกุล กลุ่มศึกษาข้อตกลงเขตการค้าเสรี ภาคประชาชน (FTA Watch) Tel 089 500 3217
หมวดหมู่ของเนื้อหาในเว็บ:
เอฟทีเอรายประเทศ: