Skip to main content
Search form
Main menu
รายงานพิเศษ
แถลงข่าว
บทความ
บทบรรณาธิการ
ร่วมรณรงค์
ศูนย์รวมข่าว
Multimedia Library
ดาวน์โหลดเอกสาร
Home
โลกาภิวัฒน์แบบไม่ถูกขาด
โลกาภิวัฒน์แบบไม่ถูกขาด
ภาคประชาชนจับตา อียู-เอฟทีเอ เปิดตัวแอนิเมชั่น “หรือเราจะยอม FTA”
6 March 2012
6 มี.ค.55 เครือข่ายภาคประชาชนจับตาการเจรจาการค้าเสรีของสหภาพยุโรปหรืออียู เปิดแนวรุกจัดทำข้อเท็จจริงที่จะเกิดขึ้นจากการเจรจาเอฟทีเอกับสหภาพยุโรป ชื่อว่า “หรือเราจะยอม FTA” ในรูปแบบการ์ตูน Animation ขึ้นเพื่อให้เกิดการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร...
อ่านต่อ
จากโลกาภิวัตน์ 2550 ถึงการเมือง 2550 : สถานการณ์ล่าสุด และทางเลือกล่าสุด
1 November 2007
จนถึงวันนี้ กระแสโลกาภิวัตน์กำลังนำพาสังคมไทยไปสู่ปัญหาใหม่ๆ ที่ซับซ้อนและน่าปวดหัวขึ้นเรื่อยๆ การเปิดเสรีสินค้า บริการ การลงทุน ตลอดจนการยอมให้สิทธิบรรษัทต่างชาติผูกขาดทรัพย์สินทางปัญญา ไม่เพียงหมายถึงความเดือดร้อนสูญเสียของประชาชนส่วนใหญ่ในสังคม ทั้งเกษตรกรรายย่อย วิสาหกิจชุมชน เอ็สเอ็มอี...
อ่านต่อ
โลกาภิวัตน์ 2550 :สิทธิบัตรสิ่งมีชีวิต ทรัพยากรชีวภาพ และภาคเกษตร
1 November 2007
ในสังคมไทยที่ฐานล่างสุดคือชุมชนเกษตร โลกาภิวัตน์ในด้านอุตสาหกรรมเกษตรและส่วนที่เกี่ยวข้องกับสิทธิบัตรสิ่งมีชีวิต คือคลื่นลูกใหญ่ที่สามารถสร้างภัยพิบัติและผลกระทบมหาศาลต่อสังคมไทยถ้าปราศจากวิสัยทัศน์และการเตรียมการที่ดี จนถึงวันนี้ หลังการเปิดเสรีและทำเอฟทีเอไปแล้วหลายฉบับ...
อ่านต่อ
โลกาภิวัฒน์ 2550 : สิทธิบัตรยา และระบบสาธารณสุข
1 November 2007
มีหลายวิธีที่บรรษัทยาข้ามชาติ ใช้ขูดรีดหากำไรพร้อมกับบ่อนทำลายระบบสาธารณสุขในประเทศไปด้วย ไม่ว่าจะเป็น การทุ่มตลาดทำให้ยาราคาถูกในช่วงแรกจนผู้ผลิตยาในประเทศต้องล้มเลิกกิจการ การแทรกแซงเพื่อให้แก้ไขกฎระเบียบภายในประเทศ ให้เอื้อต่อการผูกขาดตลาดยาทั้งทางตรงและทางอ้อม ตลอดจน...
อ่านต่อ
โลกาภิวัฒน์ 2550 :กฎหมายเอฟทีเอ : ก้าวสำคัญเพื่อรับมือกับปัญหาโลกาภิวัตน์
1 November 2007
ข้อมูลประกอบชิ้นที่ 4 พรรคการเมืองกับโลกาภิวัตน์ : ใครมีวิสัยทัศน์? ใครอยู่ข้างประชาชน จากปัญหาโลกาภิวัตน์ในส่วนหลักๆ ที่กล่าวมาแล้วข้างต้น ไม่ว่าจะเป็น การสูญเสียอาชีพและหนี้สินที่พอกพูนขึ้นของพี่น้องเกษตรกร ความเสี่ยงในการสูญเสียทรัพยากรชีวภาพ ราคายาที่แพงเกินความจำเป็น...
อ่านต่อ
โลกาภิวัฒน์ 2550 :โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ กับการเมืองเรื่องพลังงาน
1 November 2007
จากรูปแบบการประกอบกิจการไฟฟ้าด้วยการวางแผนและการลงทุนสร้างโรงไฟฟ้าขนาดใหญ่ในประเทศไทยที่ผ่านมา ทั้งการสร้างโรงไฟฟ้าถ่านหิน การสร้างเขื่อนขนาดใหญ่ ได้สร้างความเดือดร้อนต่อประชาชน สังคม สิ่งแวดล้อม และเป็นปมขัดแย้งในสังคมตลอด 50 ปีที่ผ่านมาจนถึงปัจจุบัน...
อ่านต่อ
โลกาภิวัฒน์ 2550 : ปฏิรูปที่ดิน : กุญแจแก้ปัญหาพื้นฐานสังคมไทย
1 November 2007
ข้อเสนอต่อรัฐบาลชุดใหม่ว่าด้วยการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งเรื่องที่ดินทำกินและที่อยู่อาศัยระหว่างภาครัฐและคนจนไร้ที่ดิน โดย เครือข่ายปฏิรูปที่ดินแห่งประเทศไทย ปัญหาความขัดแย้งเรื่องที่ดินทำกินและที่อยู่อาศัยเป็นปัญหาพื้นฐานที่ยืดเยื้อมานานในสังคมไทย ส่งผลไปถึงปัญหาอื่นๆ ตามมาเป็นลูกโซ่...
อ่านต่อ
เมื่ออินเดียผงาด: เบื้องหลังการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจที่คุณไม่เคยรู้
3 October 2006
วันนี้เป็นวันครบกำหนด 2 สัปดาห์ภายหลังการเข้ายึดอำนาจของคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (คปค.) จากรัฐบาลคุณทักษิณ ชินวัตร แม้ว่าในวันนี้คุณทักษิณและรัฐบาลทักษิณได้เป็นอดีตไปแล้ว แต่ผู้เขียนเชื่อว่า ระบอบที่มาแทนที่ในปัจจุบัน...
อ่านต่อ
(ไม่เอา) เอฟทีเอเกาหลีใต้-สหรัฐฯ: การต่อสู้ของคนหน้าตาธรรมดาและไม่ธรรมดา
5 September 2006
สวัสดีค่ะท่านผู้อ่าน ไม่ได้เจอกัน 1 เดือน ผู้เขียนหวังว่าท่านผู้อ่านจะสบายดี ระวังรักษาสุขภาพด้วย เพราะก่อนหน้านี้ฝนตกแบบไม่มีใบเตือนอยู่บ่อยๆ คอลัมน์โลกาภิวัฒน์ฯฉบับ 3 นี้จั่วชื่อหัวเรื่องไว้ค่อนข้างคลุมเครือ ...
อ่านต่อ
โบลีเวีย VS ไทย: จุดยืนเอฟทีเอใครเจ๋งกว่ากัน
1 July 2006
ในประเทศไทย เวลาคนพูดถึงข้อตกลงเขตการค้าเสรีหรือเอฟทีเอ เขากำลังหมายถึงการขยายตัวทางการค้า การขยายตัวการส่งออก การขยายตัวการลงทุนจากต่างประเทศ การจำกัดบทบาทรัฐ การให้สิทธิเอกชน และการเพิ่มการบริโภคของประชากร นานๆครั้งเขาจึงจะหมายถึง การขยายการจ้างงาน...
อ่านต่อ